
1. แยกไม่ออกว่า จำเป็นหรือไม่
วิธีการแยกง่ายที่สุดคือต้องรู้ ว่าสิ่งไหนต้องมี ไม่มีแล้วจะใช้ชีวิตไม่ได้
หรือสิ่งไหน ข าดไปแล้วยังใช้ชีวิตได้ แต่เมื่อมีแล้วชีวิตจะดีขึ้น เช่นอาหารจานหรู เสื้อผ้าดีๆ
หรือสิ่งไหนไม่จำเป็น แต่ต้องมี แต่หากแยกไม่ได้และเอาอารมณ์เ ป็นที่ตั้ง อาจเป็นเหยื่ อ ภาพลวง
มันจะทำให้เรามีแต่จ่าย กับจ่ายไม่อย่างไม่จบสิ้น
2.คิดว่า ยังเร็ว ที่จะออมเงิน
ในวันที่เรายังตื่นตาตื่นใจกับสิ่งรอบตัว “ความจำเป็น” มันผุ ด ขึ้นมาตร งหน้าและทำให้เราเสี ยทรัพย์อยู่เรื่อยๆ
ทั้งที่สิ่งเหล่านั้น เป็นเพียงแค่ “ความต้องการ” มีก็ ดี หรือจะไม่มีก็ได้ เราจงเริ่มต้นได้แล้ว หลังจากนั้นสร้างวินัยให้กับตนเอง
ด้วยการออมต่อเนื่อง แม้จะไม่อย ากออมก็ตาม เพราะวินัยคือ การทำสิ่งที่ “ต้องทำ”แม้จะ “ไม่อย ากทำ ”
3. การใช้เงิน ที่เพิ่มขึ้น
ใครๆ ก็“อย ากมีชีวิตที่ดีขึ้น” แต่อย่าลืมว่าชีวิตที่ดีขึ้น ไม่จำเป็นต้องมากับรายจ่ายที่มากขึ้นด้วย
จงใช้ชีวิตให้ง่ายขึ้น เลิกเป็นนักสะสมแค่นี้ ก็ทำให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้นได้แล้ว เพราะหากได้เงินเดือนเพิ่ม
แต่ว่าเรา ใช้จ่ายเพิ่ม แล้วสุดท้ายอาจได้แค่ “อยาก”มีชีวิตที่ดีขึ้น เพราะพฤติ ก รร ม ของเรา
มันเติบโต อาจก่อให้เกิดปั ญหาตามม าโดยเฉพาะหนี้สิน ที่พอกพูนโดยเราไม่รู้ตัวเลย
4.อนาคตเป็นยังไง ก็ช่าง
พอเจอกับปัญหาหลายคน เลือกที่จะเดินหนี ไปทำอย่างอื่น
ปล่อยให้ปัญหาอยู่แบบเดิม หรืออาจหนักขึ้นจนเข้าขั้นวิกฤติได้ ในเรื่องของการเงินก็เช่นกัน
หลายคนสนใจ แต่ในวันนี้กินอิ่มป าร์ตี้สนุกเที่ยวบ่อย ทั้งที่รู้ว่ายังไม่มีเงินเก็บสำหรับอนาคตเลย
ไม่เคยวางแผนการเงินไม่เคยแม้แต่จะลงมือทำ และปัญหาก็ยังคงเป็นปัญหาอย่างเดิมนั่นแหละ
จะดีกว่าไม่น้อยหากการตัดสินใจใช้เงินในแต่ละครั้ง เราได้คิดถึง“อนาคต”บ้าง บ้านผ่อนหมดยัง?
เงินก้อนที่ตั้งใจเก็บตอนนี้ ได้เท่าไหร่ เกษียณที่ว่าต้องใช้เงินเยอะ มีแค่ไหนละ อดเปรี้ยวไว้กินหวานบ้างสิ
5.ไม่สนใจ หนี้ เลย
น้อยคนที่จะ ไม่มีหนี้ แต่คนมีหนี้จำนวนมาก กลับให้ความสำคัญกับการ “ชำ ร ะ ห นี้” น้อยมาก
และนั่นก็ย่อมทำให้เขาเหล่านั้น ตกอยู่ในวังวนข อง“หนี้” อย่างไม่มีทางหลุ ดพ้นได้เลย เพราะเมื่อได้เงิน
ก็มัวแต่สนุก กับการใช้จ่าย จน ด อ ก เบี้ย(หนี้)ทบต้นไปเรื่อยๆ ในทางตรงกันข้าม ผู้ที่อย ากรวยจะ “กลั วหนี้”มาก
พวกเขาจึงให้ความสำคัญ กับ “หนี้” เป็นสิ่งแรก และพอมีร ายได้เข้ามา ก็จะรีบชำ ร ะห นี้ก่อน
แล้วสุดท้าย เป็นไทปลด ระวางหนี้ได้สำเร็จ
6. ไม่เคยจดเรื่อง เงิน
เข้าห้องประชุม ก็จดนาย สั่งงานก็จด ทำทุกเรื่องที่ทำเพื่อคนอื่น แต่หลายคนไม่เคยแม้แต่จะจดเรื่อง “เงิน”
ในการใช้จ่ายของตัวเอง ทั้งที่เป็นเรื่องที่ดีกับตัวเอง เพราะคิดว่าเรารู้อยู่แล้วว่า รับจ่าย ออม
เท่าไหร่ แต่เราก็อย่าลืมว่านั่น อาจเป็นแค่ก้อนใหญ่ๆ เท่านั้น แต่รายจ่ายจิปาถะ กาแฟ ขนมเสื้อ ผ้าอุปก รณ์ต่างๆ
เหล่านี้ก่อนจะรวมเป็นหนี้บั ตรเครดิ ตก้อนใหญ่ “รูรั่ ว”เล็กๆ แต่สร้างผลกระทบยิ่งใหญ่ ต่อสถ านะการเ งิน แบบที่เราไม่ทันตั้งตัว
7. ไม่เคยตั้ง งบประมาณ สำหรับการใช้จ่าย
บริษัทก็ยังมีงบการเงิน ในการทำสิ่งต่างๆเลย ต้องมีประมาณกา รณ์ค่าใช้จ่ายตั้ง งบ ประมาณ การใช้เงินเลย
หากเราไม่ตั้งงบ จะช้อปปิ้งปีใหม่ จะเที่ยว ก็จัดเต็ มแล้วสุดท้ายก็เกินความจำเป็น เกินกำลังของตัวเอง
และกลายเป็ น“หนี้” ในที่สุด วิธีการที่ง่ายกว่าคือ “ตั้งงบประมาณ” การใช้เงิน จะซื้อของวาเลนไทน์ให้คนรัก
ไม่เกินกี่บาท,จะไปเที่ยว กลางปี งบประมาณเท่าไหร่ แล้วยึดมั่นกับสิ่งที่ตั้งไว้ ทำตามแผนไม่ใช้เกินงบ
แล้วเราจะตัดสิ่งที่ไม่จำเป็นออกไปจากชีวิต ได้อย่างง่ายดาย