
1. ไม่ควบคุมค่าใช้จ่าย ของลูกคุณ
เราก็ไม่ควรไปทุ่มทุ นกับลูกจนเกินไป คุณควรพิจารณาค่าใช้จ่ายให้ถี่ถ้วนในทุกๆด้าน
ทั้งค่าเล่ าเรียน ค่าเรียนพิเศ ษ กิจกรร มต่าง ๆ วิชาการช่วงปิดเทอม
รวมไปถึงค่าใช้จ่าย ช่วงเรียนมหาลัย คุณต้องลดค่าใช้จ่ายให้ประหยัดที่สุด
หรืออาจต้องตั ดค่าใช้จ่ายบาง เพราะเดี๋ยวคุณจะต้องทำงานหนักมากขึ้น
เพราะกระทบกับสุขภาพในวัยเกษียณของคุณเอง
2. ไม่เก็บเงินให้มาก ตามอายุตามอายุตัวเอง
เพราะเงินที่คุณสะสมไว้ใช้หลังเกษียณอายุ จำเป็นต้องเพิ่มขึ้นมากกว่า
ตอนที่ทำงานใหม่ๆ ยิ่งคุณทำงานมานานมากๆ มีเงินเดือนสูงขึ้น
ก็ควรเก็บให้มากขึ้นตามอายุ เพราะถ้าชะล่าใจ อาจทำให้เก็บเงินได้ไม่พอใช้
3. ซื้อบ้านราค าสูง จ่ายไม่ไหว
เพราะบ้านเป็นเงินก้อนโต จึงเป็นเรื่องใหญ่ หากคุณคำนวณแล้วค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
สูงกว่าค่าเฉลี่ ย ก็ถึงเวลาแล้ว ที่ต้องลดรายจ่าย ต้องเข้าใจด้วยว่า การย้ ายที่อยู่
ก็เป็นเรื่องปกติ และการเปลี่ยนมาอาศัย อยู่ในบ้านที่ถูกลงนั้น มันย่อมดีกว่า
ปล่อยให้ค่าบ้าน กระทบการเงินคุณ ทีนี้จะส่งผลให้เงินเก็บหลังเกษียณของคุณลดน้อยลง
ถ้าเงินหลังเกษียณของคุณไม่พอใช้ ทีนี้แหละมันจะเกิ ดหนี้ขึ้นมา
4. ไม่ปรับแผนประกั นชีวิต
คุณก็อย่าลืมว่าประกั นที่คุณเคยทำ เมื่อ20-30 ปีที่แล้ว อาจไม่ใช่ประกั นที่เหมาะกับคุณอีกต่อไป
เพราะคุณต้องการประกั นที่ครอบคลุม ให้เหมาะสมกับอายุตัวเอง รวมไปถึง
การประกั นเพื่อให้ครอบครัว ไม่ต้องมีปัญหาการเงิน ถ้าวันนึงคุณมีปัญหาสุขภาพ
ต้องใช้ค่ารักษ า หรือเสี ยชี วิตเรื่องนี้สำคัญมาก โดยเฉพาะถ้าคุณเป็นคนหาเลี้ยงครอบครัว
5. ล้อเล่นกับแผนเก็บเงิน
ตอนที่คุณมีอายุ 20ถึง30 ปี อาจจะละเว้น เงินสะส มเพื่อตอนเกษียณอายุก็ไม่เป็นไร
แต่หากเข้าช่วงวัยกลางคน ทีนี้จะมาล้อเล่นกับเงินสะส มเพื่อตอนเกษียณอายุไม่ได้แล้ว
ฉะนั้น อย่าใช้เงินที่กันไว้ เพื่อตอนเกษียณอายุเชียว เพราะคุณต้องมีเงินสดเผื่อเห ตุฉุ กเฉิ นด้วย
6. ไม่รี บจัดการหนี้บั ตรเค รดิ ต
เพราะในวัยนี้ คุณเองก็ไม่ควรใช้จ่าย แบบพึ่งพาบั ตรซะทีเดียว หากคุณมีห นี้บั ตร
ก็ต้องพย าย ามจ่ายให้หมดไวที่สุด หรือถ้ามีห นี้บั ตรเครดิตมากไป
คุณต้องจัดการให้ได้ แม้ว่าคุณจะต้องข ายสินทรั พย์ก็ต้องทำ
หรืออาจต้องปันเงินเก็บของคุณ ทยอยจ่ายห นี้ให้หมดไป แล้วคุณจะมีอิสระทางการเงิน