
การที่หยิบยืมเงินจากผู้อื่น แปลว่าคุณได้รับโอกาส ต่อล มห ายใจไปแล้ว อีกอย่างที่สำคัญพอเราเองได้รับความช่วยเหลือ
ก็จงอย่าสร้างความเดื อด ร้ อน ให้กับคนที่เขาพย ามย ามช่วยคุณ
1. บริหารเงินที่เหลือ จากการตั ดรายจ่าย
คุณควรจะวางแผนการเงิน ตั้งแต่เริ่มแรกเลย เงินที่ได้เพิ่มมา
คุณควรจะวางแผนดีๆ ว่าคุณจะจัดการอย่างไร ในส่วนไหน
ส่วนไหนกันไว้ใช้ห นี้ ส่วนไหนเก็บออม ต้องแบ่งแต่ละส่วนให้ชัดเจน
2. หากบริหารแล้ว ไม่พอก็ต้องหาร ายได้เพิ่ม
“เราต้องหาให้มากกว่าใช้” หากคุณบริหารทุกอย่าง และยังไม่เป็นไปตามที่กำหนด
และคุณก็ควรจะหาร ายได้เพิ่ม สำร วจดูว่าคุณมีศั ก ย ภาพอะไรยังไง
ถนัดอะไร และสิ่งเหล่านี้แหละมันจะเอามาเป็นวิธีหาร ายได้เพิ่มได้
3. สำรวจข้อผิ ด พล าดของตัวเองว่า เกิ ดอะไรขึ้น
ก่อนจะใช้หนี้คุณเองก็ต้องเข้าใจก่อนว่า มันเกิดอะไรขึ้นกับคุณบ้าง
คุณจะได้เข้าไปแก้ไขได้ตรงประเด็ น อย่างตรงจุด หากคุณไม่สำร วจเลย
เชื่ อเถอะว่า ในไม่ช้า วังวนเดิมจะกลับมาเยือน คุณอย่างแน่ๆ
4. พูดคุยให้ชัดเจน ถึงเหตุที่เราต้องหยิ บยืมเงินผู้อื่น
การจะขอความช่วย เหลือจากใครคนอื่นนั้น สิ่งแรกที่คุณต้องชัดเจนเลยคือ
พูดความจริงคนที่จะช่วยเหลือ เขาจึงจะทราบสถานการณ์ และความจำเป็น
ของคุณว่าคุณต้องการอะไร และควรกำหนดเวลาใช้คืน ว่าคุณพร้อมใช้คืนตอนไหน
5. ปรับพฤ ติ ก ร ร ม ที่คิดว่าสิ้นคิดออกไป
ถ้ายังไม่ยอมปรับพ ฤ ติ กร รมตัวเอง มันก็แทบ จะไม่มีประโยชน์อะไรแล้ว
ที่คุณจะอาจหลุ ดพ้ น จากวังวนนั้นแน่ๆ จำไว้ว่า การจะเปลี่ยนตัวเองได้
คุณนั้น ต้องอาศัยความอดทน และความตั้งใจอย่างมาก เพื่อจะเปลี่ยนมัน
6. ทำบัญชีค่าใช้จ่าย เพื่อเที ยบสมดุล ของร ายได้ รายจ่าย ของคุณเอง
เพราะที่จริง สิ่งนี้เป็นหัวข้อคล าสสิ ค เพื่อการสร้างวินัยทางการเงินของคุณเลย
เพราะมันจะบอกคุณเลยว่า ในแต่ละเดือนคุณ มีร ายได้เข้ามาแค่ไหน
เสี ยเงินไปกับเรื่องอะไรบ้างเท่าไหร่ คุณจะได้เข้าไปจัดการ กับรายจ่าย
ที่ไม่จำเป็นพวกนั้น “แม้ว่าการสร้างความรู้ หรือการปรับทัศนคติ และพฤ ติกร รมจะไม่ใช่
การแก้หนี้ที่ทำแล้ว จะเห็นผ ลตอนนั้นเลยแต่ก็ยังเชื่ อว่า สิ่งเหล่านี้คือ ภูมิคุ้มกันที่ดี
ให้เราสามารถสร้างความมั่นคง ให้เราและครอบครัวได้เสมอ
ขอขอบคุณ e – y h a n g wa