
1. ของที่ไม่จำเป็น ก็ตั ดออก
ก็เมื่อมีความตั้งใจ ที่จะเก็บแล้ว อย่างนี้ก็เท่ากับว่าคุณมีจุดมุ่งหมาย
และวิธีลดรายจ่ายแล้ว ทั้งนี้มันจะช่วยให้มีเงินเหลือ เช่นในแต่ละเดือนต้อง
การเก็บเงินแค่ไหน เท่าไหร่ จึงค่อยลดการใช้จ่าย กับสิ่งที่ไม่จำเป็น เพื่อให้เงินเก็บถึงที่กำหนด
และถ้าไม่มีการตั้งเป้าหมาย สำหรับการออมนะ คุณก็จะไม่มีหลักให้ยึด การออมเงินอาจไม่เกิดขึ้น
2. หยอดกระปุกให้เป็นนิสัย
บางคนไม่รู้ ว่าต้องเริ่มยังไง แล้วการหยอดกระปุกมันเป็นการเริ่มต้นที่ง่าย ใครๆ ก็ทำได้
นอกจากจะสามารถเก็บเงิน ให้ลูกน้อยได้ เหล่าแม่ยังสามารถแยกเก็บเงิน
ในส่วนต่างๆ ได้อีกนะ หากการใช้จ่ายของคุณแม่ ไม่ได้เดื อดร้อนอะไร ก็จะทำ
ให้เงินเก็บงอกเงย เรื่อย ๆ เมื่อเก็บเงินได้จำนวนนึง ฝากธนาคาร ไว้
3. จัดการเงินออม ให้เป็นระบบ
อาจลองตั้งเป้าสำหรับการออม จากนั้นก็ปรับไลฟ์สไตล์ให้เข้ากับเงิน จนเป็นนิสัยเรา
ในแต่ละเดือน เหล่านี้มันจะทำให้คุณเก็บเงินได้ไม่ย าก คนส่วนใหญ่มักคิดว่า
ควรหั กรายจ่ายทุกอย่าง จึงค่อยออม คิดแบบนี้ก็ไม่ผิด แต่หลายคนมักจะใช้จ่าย
จนเงินเก็บเหลือไม่ถึงตามเป้า แล้ววิธีการนี้จะช่วยให้คุณประหยัด และแต่ละเดือนรู้ด้วยว่า เงินไปไหน
4. แบ่ งใช้เป็นเดือนๆ
ตอนนี้คุณอาจจะยังไม่เห็นประโยชน์ ในเรื่องการเก็บเงิน เงินเดือนออกทีไรก็ใช้จ่าย ไม่สนอะไรทั้งนั้น
แทบจะไม่ได้คำนวณเลยว่า หมดมากน้อยแค่ไหน เมื่อทำแบบนี้เรื่อย ๆ เงินออมเงินเก็บอย่าพูดถึงเลย
ฉะนั้น เราควรแบ่ งเงินตามสัดส่วน ที่พอเหมาะอาจแบ่งเป็น บัญชีเงินออม บัญชีจ่าย จากนั้น
คุณจะรู้ว่าอะไร ที่ควรประหยัด อะไรที่จำเป็นต้องใช้ ทั้งนี้ก็เพื่ออนาคตของคุณนะ
5. เก็บเงิน เพื่อออม
เช่นเก็บเงินจำนวน สามสิบเปอร์เซนต์ ในแต่ละเดือนที่ได้รับแล้วมันทำให้ คุณมีเงินเก็บ
แต่ทว่า ถ้าคำนวณดีๆ เมื่อเรามีรายจ่ายเยอะ อาจจะลดเหลือสั กยี่สิบเปอร์เซนต์ก็ได้
เพราะเราเองจะไม่เดื อ ดร้อนด้วย ถ้าต้องการใช้เงินในเวลาที่จำเป็น