
1. ใช้ชีวิต ให้มีอยู่สติ
ไม่ว่าจะเป็นสติในการกิน แทนที่จะกินตามใจปาก แล้วต้องให้หม อจ่ ายย าลดไ ข มั น
แล้วทำไมเราไม่ลองหันมาล ด ที่ปากล่ะ ด้วยการใช้สติ ในการพิจารณาอย่างมีเหตุมีผลเมื่อจะกินอะไร
2. ระลึกถึง มรณานุสติ
ไม่ว่าใคร ก็ต ๅ ย ได้ทั้งนั้น ไม่ว่าใครก็ต้องเจอ เท่าเทียมกันหมดทุกคนนั่นแหละ
หากมองเห็นความต า ย เป็นเรื่องปกติ จะทำให้เรานิ่งกับสิ่งที่จะเกิดขึ้น
3. น้อมนำ หลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
การดำเนินชีวิต โดยมี “เหตุผล” เป็นเครื่องนำทาง เหตุผลเป็นผลผลิตของปัญญา
ฉะนั้น จึงต้องรักษาศีลก่อน และมีสติ สมาธิ สุดท้ายจะทำให้เกิดการพิจารณา
เมื่อดำเนินทุกอย่าง ด้วยเหตุด้วยผลแล้ว ก็จะเกิดความพอเพียงตามมาไงล่ะ
4. ฝึกการให้ โดยไม่หวังอะไรกลับมา
เกษียณแล้ว อย่าเอาแต่อยู่บ้านเฉยๆ มันไม่เกิดประโยชน์ แต่ให้พย าย ามหา
อะไรก็ได้ ช่วยคนโน้นคนนี้ เท่าที่ร่างกายของเราจะทำได้
ดูแลร่างกายให้แข็งแร ง เพื่อทำประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นต่อไปด้วยนะ
5. อยู่อย่างสง่า จากไป อย่างสงบ
ตอนมีชีวิตอยู่ ต้องมีความสง่างามในตัวเองเสมอ ทุกอย่างต้องพึ่งตัวเองได้
ใครเห็นก็ให้ความเคารพนับถือ เมื่อถึงวันที่ต้อง ต ๅ ย ก็ต ๅ ย อย่างสงบ
อย่าไปกลัว จะยิ่งใหญ่แค่ไหนกัน จากไปแล้ว เกียรติยศเงินทองสะสมไว้แค่ไหน
ก็คงไม่เหลือ สิ่งเดียวที่เหลือคือความเป็นตัวตน และคุณงามความดี
6. พักผ่อนจิตใจบ้าง
หลายคนเมื่อเกษียณ ก็มักใช้เวลาหาแต่ความสุขทาง “กาย”
พากายไปเที่ยว ไปสูดอากาศ ไปกินอาหารดีๆ แต่คงลืมไปว่า ไม่ได้คิดที่จะเอาจิตไปพักผ่อน
ทั้งที่กายกับจิต นั้นสัมพันธ์และมีอิ ทธิพ ลต่อกัน การได้พักผ่อนนั้นสำคัญมาก
7.อย่าหยุดทำงาน อย่าอยู่เฉยๆ
เกษียณแล้ว อย่าเอาแต่นั่งๆ นอนๆ เมื่อไหร่ที่เราหยุดทำงาน
ร่างกายของเรา ก็จะหยุดไปด้วย เหมือนรถที่จอดเฉยๆ สต า ร์ ทไม่ติด
เราต้องคิดว่า อย่าหยุดด้วยจิต และกายก็อย่าหยุดด้วย
8. ร่าเริง รื่นเริง ครึกครื้น
คนเราควร มีอ ารมณ์ขันอยู่ตลอดเวลา มองเห็นทุกอย่าง เป็นเรื่องสนุก
ชีวิตจึงจะสามารถทำงานได้สำเร็จลุล่วง และมีประสิทธิภาพ
หากเราร่าเริง ยิ้มแย้มแจ่มใสแล้ว บรรย ากาศรอบตัว คนรอบข้าง ที่อยู่กับเราก็รื่นเริงกับเราไปด้วย
9. อักโกธะ หรือ ความไม่โกรธ
นั่นเพราะเมื่อโกรธแล้ว มักจะเสี ยหาย ถ้าคุมอารมณ์ไม่อยู่
เมื่อไหร่ก็ตามที่มี เรื่องมากระทบใจ จงพลิกอารมณ์ มองให้เห็นเป็นเรื่องสนุกๆ แล้วจะไม่โกรธ
10. การดำรงอยู่ในความถูกต้อง
ทั้งความดีและความถูกต้อง เพราะบางอย่างดี แต่ไม่ถูกต้อง
บางอย่างถูกต้องแต่ไม่ดี การกระทำของเรานั้น ต้องตรว จ ส อบอยู่เรื่อยๆ
เป็นธรรมหรือเปล่า หรือ ดีและถูกต้องหรือเปล่านั่นเอง